Skip to main content
R2R

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ขอรหัสผ่านใหม่
  • |
  • สมัครสมาชิก
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ R2R
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสาร
    • กิจกรรม
  • เวทีสร้างงานวิจัย
  • คลังความรู้
    • วิดีโอ
    • หนังสือ
    • งานวิจัย
    • E-Journal
    • จดหมายข่าว
  • อัลบั้มภาพ
  • เครือข่าย R2R
หน้าแรก » เวทีสร้างงานวิจัย » อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะชนิด PSVT โดยการเป่าหลอดฉีดยา : การศึกษานำร่อง (Cardioversion Rate of Paroxysmal Supraventricular Tachycardia (PSVT) Treated by Blowing Syringe : A Pilot Study)

อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะชนิด PSVT โดยการเป่าหลอดฉีดยา : การศึกษานำร่อง (Cardioversion Rate of Paroxysmal Supraventricular Tachycardia (PSVT) Treated by Blowing Syringe : A Pilot Study)

  • ขนาดตัวอักษร  | |

พัฒนาโครงร่างวิจัย

1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ)

อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะชนิด PSVT โดยการเป่าหลอดฉีดยา : การศึกษานำร่อง (Cardioversion Rate of Paroxysmal Supraventricular Tachycardia (PSVT) Treated by Blowing Syringe : A Pilot Study)

2. ภูมิหลังและที่มาของโครงการ (Background and Rational)

ในปัจจุบันการทำ valsalva maneuver เพื่อรักษาภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะชนิด paroxysmal supraventricular tachycardia (PSVT) ยังไม่มีมาตรฐานที่ดีที่สุด (gold standard)1 ยังคงมีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเทคนิควิธีการที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Valsalva maneuver เป็นวิธีการรักษาที่ปลอดภัย เป็นการรักษาที่เป็นมาตรฐานสากล และถูกแนะนำให้เป็นแนวทางการรักษาลำดับแรก (1st line treatment) อย่างไรก็ตามพบว่ามีอัตราความสำเร็จในเวชปฏิบัติเพียง ร้อยละ 5-20 ซึ่งอาจมีสาเหตุจากหลายปัจจัย ได้แก่ แพทย์ใช้เทคนิควิธีปฏิบัติและอธิบายแก่ผู้ป่วยไม่ถูกต้อง3 ไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการทำvalsalva maneuver เป็นต้น การแก้ปัญหาจากปัจจัยข้างต้นย่อมทำให้อัตราความสำเร็จในการรักษาดีมากขึ้นได้

ดังนั้นการศึกษาเทคนิควิธีการรักษาใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ และมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาแนวทางการรักษาต่อไปในอนาคต ในการศึกษานี้จึงได้รวบรวมข้อมูลผู้ป่วย PSVTที่ได้รับการรักษาโดยวิธี valsalva maneuver โดยการเป่าหลอดฉีดยา เพื่อให้ทราบถึงอัตราความสำเร็จในการรักษาด้วยวิธีดังกล่าว

3. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย (Objective)

3.1 วัตถุประสงค์หลัก (Primay Objective)

เพื่อศึกษาอัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะชนิด PSVT โดยการเป่าหลอดฉีดยา

3.2 วัตถุประสงค์รอง (Secondary Objective)

-

4. วิธีการดำเนินโครงการ (Materials and Methods)

4.1 การออกแบบการวิจัย (Study Design)

เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาย้อนหลัง เพื่อศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วย ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557–สิงหาคม 2559 ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น PSVT ร่วมกับได้รับการรักษาโดยการเป่าหลอดฉีดยาขนาด10 มิลลิลิตร ในท่านอนหงาย เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 15 วินาที

4.2 ประชากรที่ศึกษา (Study Population)

ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น paroxysmal supraventricular tachycardia (PSVT) มีสัญญาณชีพคงที่และได้รับการรักษาโดยการเป่าหลอดฉีดยา ณ ห้องฉุกเฉิน
โรงพยาบาลนครปฐม ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557 – สิงหาคม 2559

4.3 แหล่งที่มาของประชากร (Source of Study Population)

-

4.4 การได้มาซึ่งประชากรที่ศึกษา (Method of Recruitment of Study Population)

-

4.5 เกณฑ์การคัดเลือกประชากรที่ศึกษา (Selection Criteria)

4.5.1 เกณฑ์การคัดเลือกผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร (Inclusion Criteria)

ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น paroxysmal supraventricular tachycardia (PSVT) มีสัญญาณชีพคงที่และได้รับการรักษาโดยการเป่าหลอดฉีดยา ณ ห้องฉุกเฉิน
โรงพยาบาลนครปฐม ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557 – สิงหาคม 2559

4.5.2 เกณฑ์ไม่รับเข้าในการศึกษา (Exclusion Criteria)

-

4.5.3 เกณฑ์การถอนผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครหรือยุติการเข้าร่วมการวิจัย (Withdrawal or Termination Criteria)

-

4.6 วิธีการแบ่งกลุ่มประชากรที่ศึกษา (Allocation of Study Population)

-

4.7 จำนวนประชากรที่ต้องการจะศึกษา (Sample Size) และการคำนวณขนาดตัวอย่าง (Sample Size Calculation)

-

4.8 ขั้นตอนการศึกษา (Study Procedures)

-

4.9 การวัดผล/การวิเคราะห์ผลการวิจัย (Outcome Measurement/Data Analysis) (กระบวนการวัดผล/ วิเคราะห์ผล รวมถึงสถิติที่ใช้)

-

4.10 หลักฐาน ข้อมูล หรือเอกสารอ้างอิงที่แสดงว่าการวิจัยนี้น่าจะมีความปลอดภัยและ/หรือมีประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร/สังคม

-

5. แผนการดำเนินการ (Outline of the Study) และผลที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา

-

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อการดำเนินงานเสร็จสิ้นที่เป็นรูปธรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ

-

7 แผนการนำผลงานดังกล่าวออกสู่การใช้ประโยชน์ (Implementation)

-

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

8.1 ประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครเป็นรายบุคคล

  1. ลดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ ได้แก่ ผู้ป่วยไม่เจ็บจากการเปิดหลอดเลือดก่อนให้ยา และไม่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการให้ยา 
  2. ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา เพราะไม่ต้องใช้ยา

8.2 ประโยชน์ต่อวิชาชีพโดยรวม

  1. ทำให้ทราบอัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะชนิด PSVT โดยการเป่าหลอดฉีดยา
  2. ใช้ข้อมูลศึกษานำร่องนี้ในการวิจัยต่อยอด เช่น การคำนวณจำนวนประชากรศึกษา, การพัฒนาวิธีการรักษานอกโรงพยาบาล (pre hospital care) กล่าวคือ เป็นนวัตกรรมในการรักษาผู้ป่วยนอก รพ.ได้ เพราะไม่จำเป็นต้องเปิดหลอดเลือดและให้ยา เป็นต้น
  3. สามารถใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจรักษาผู้ป่วย โดยเฉพาะการเลือกวิธีรักษาในกลุ่มผู้ป่วยอายุน้อย 

8.3 ประโยชน์ต่อสังคม

-

8.4 อื่นๆ

-

ความก้าวหน้าในการดำเนินการวิจัย/ปัญหาหรืออุปสรรคระหว่างทำวิจัย

-

อัพเดทความเคลื่อนไหว

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

อัลบั้มภาพ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

วิดีโอ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้
  • อ่าน 2205 คน
  • พิมพ์หน้านี้

แสดงความคิดเห็น

Skip to Top
บดีภัทร วรฐิติอนันต์'s picture
นักวิจัยหลัก: บดีภัทร วรฐิติอนันต์
เมื่อ 31 มี.ค. 2561

ทีมงาน

ติดต่อ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

รางวัล

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

เอกสาร

  • cardioversion_rate_of_paroxysmal_supraventricular_tachycardia_psvt_treated_by_blowing_syringe_a_pilot_study.pdf
    (.pdf | 924kb)
ส่งต่อให้เพื่อน

ติดต่อเรา

โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ

อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘o พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕o ชั้น 2
เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700

โทร. 02-419-2661  อีเมล r2r.thai@gmail.com

เครือข่าย R2R | ถาม-ตอบ | ติดต่อเรา

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ R2R
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • เวทีสร้างงานวิจัย
  • คลังความรู้
  • อัลบั้มภาพ
  • เครือข่าย R2R

ติดตามเรา

  • Facebook
  • Twitter
  • Youtube
  • RSS feed