อุบัติการณ์การเกิดภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้ในแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลสิชลจังหวัดนครศรีธรรมราช (INCIDENCE OF ANAPHYLAXIS IN THE EMERGENCY DEPARTMENT OF SICHON HOSPITAL)
พัฒนาโครงร่างวิจัย
1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ)
2. ภูมิหลังและที่มาของโครงการ (Background and Rational)
ภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้(Anaphylaxis) เป็นปฏิกิริยาทางภูมิแพ้ของร่างกายที่รุนแรง เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันและทำให้เสียชีวิตได้ จึงเป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรีบให้การรักษา การวินิจฉัยจึงมีความสำคัญมาก ต้องอาศัยประวัติการรับสารกระตุ้นให้เกิดการแพ้ อาการและอาการแสดง การทราบสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการ จะทำให้สามารถหลีกเลี่ยงสารที่แพ้ และป้องกันการเกิดซ้ำ อุบัติการณ์การเกิดภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้ แตกต่างกันไปตามกลุ่มที่ศึกษา โดยเชื่อว่าการรายงานอุบัติการณ์ในประชาชนทั่วไปน่าจะต่ำกว่าความเป็นจริง สำหรับประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาเพื่อรายงานอุบัติการณ์ของภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้ ในโรงพยาบาลชุมชน
3. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย (Objective)
3.1 วัตถุประสงค์หลัก (Primay Objective)
เพื่อประเมินอุบัติการณ์การเกิดภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้ สาเหตุ ลักษณะอาการทางคลินิก การให้การรักษา รวมถึงผลการรักษาภาวะดังกล่าว
3.2 วัตถุประสงค์รอง (Secondary Objective)
4. วิธีการดำเนินโครงการ (Materials and Methods)
4.1 การออกแบบการวิจัย (Study Design)
เป็นการศึกษาแบบพรรณนา Descriptive prospective study เก็บข้อมูลใน ในแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสิชล ระยะเวลาเก็บข้อมูล 1 ปี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2548 ถึง 30 กันยายน 2549 โดยเก็บข้อมูลผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับ การรักษาด้วยภาวะช็อกจากภูมิแพ้
4.2 ประชากรที่ศึกษา (Study Population)
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่มีผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับการรักษาด้วยภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้ ในแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลสิชล
4.3 แหล่งที่มาของประชากร (Source of Study Population)
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่มีผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับการรักษาด้วยภาวะช็อกจากโรคภูมิแพ้ ในแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลสิชล เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบบันทึกข้อมูล ร่วมกับเวชระเบียนผู้ป่วย ระยะเวลาเก็บ ข้อมูล 1 ปี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2548 ถึง 30 กันยายน 2549
4.4 การได้มาซึ่งประชากรที่ศึกษา (Method of Recruitment of Study Population)
4.5 เกณฑ์การคัดเลือกประชากรที่ศึกษา (Selection Criteria)
4.5.1 เกณฑ์การคัดเลือกผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร (Inclusion Criteria)
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะ anaphylaxis ดังนี้
1. ผู้ป่วยมีอาการของ generalized mediator release อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่
1.1 Flushing
1.2 Pruritus or paresthesia of lips, axilla, hands, or feet; general pruritus
1.3 Urticaria or angioedema
1.4 Lip tingling or paresthesia
1.5 Conjuncivitis or chemosis
ร่วมกับอาการในระบบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ระบบเดียวกัน อีก 1 อาการ ได้แก่
Oral and gastrointestinal system: oral mucosal pruritus, intraoral angioedema of buccal mucosa, tongue, palate of oropharynx nausea, emesis, dysphagia, abdominal cramps, diarrhea
Respiratory system: rhinitis, stridor, cough, hoarseness, aphonic, tightness in the throat, dysphea, wheezing, hypopharyngeal or laryngeal, edema cyanosis
Cardiovascular system: chest pain, arrythmia, tachycardia, bradycardia, hypotension, presyncope, orthostasis syncope, seizures, and shock
2. ยกเว้นมี laryngeal edema หรือ shock และ syncope ที่เกิดขึ้นทันทีหลังการฉีดยา หรือ สารทึบรังสี (radiocontrast agent) ถือว่าเป็น anaphylaxis โดยไม่จำเป็นต้องครอบตามข้อ 1
4.5.2 เกณฑ์ไม่รับเข้าในการศึกษา (Exclusion Criteria)
4.5.3 เกณฑ์การถอนผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครหรือยุติการเข้าร่วมการวิจัย (Withdrawal or Termination Criteria)
4.6 วิธีการแบ่งกลุ่มประชากรที่ศึกษา (Allocation of Study Population)
4.7 จำนวนประชากรที่ต้องการจะศึกษา (Sample Size) และการคำนวณขนาดตัวอย่าง (Sample Size Calculation)
4.8 ขั้นตอนการศึกษา (Study Procedures)
4.9 การวัดผล/การวิเคราะห์ผลการวิจัย (Outcome Measurement/Data Analysis) (กระบวนการวัดผล/ วิเคราะห์ผล รวมถึงสถิติที่ใช้)
4.10 หลักฐาน ข้อมูล หรือเอกสารอ้างอิงที่แสดงว่าการวิจัยนี้น่าจะมีความปลอดภัยและ/หรือมีประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร/สังคม
5. แผนการดำเนินการ (Outline of the Study) และผลที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อการดำเนินงานเสร็จสิ้นที่เป็นรูปธรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
7 แผนการนำผลงานดังกล่าวออกสู่การใช้ประโยชน์ (Implementation)
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
8.1 ประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครเป็นรายบุคคล
8.2 ประโยชน์ต่อวิชาชีพโดยรวม
8.4 อื่นๆ
ความก้าวหน้าในการดำเนินการวิจัย/ปัญหาหรืออุปสรรคระหว่างทำวิจัย
อัพเดทความเคลื่อนไหว
งานวิจัย จากแผนก ER จาก รพช. ทำได้ไม่ยาก นะครับ
อัลบั้มภาพ
วิดีโอ
- อ่าน 5627 คน
- พิมพ์หน้านี้
แสดงความคิดเห็น