Skip to main content
R2R

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ขอรหัสผ่านใหม่
  • |
  • สมัครสมาชิก
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ R2R
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสาร
    • กิจกรรม
  • เวทีสร้างงานวิจัย
  • คลังความรู้
    • วิดีโอ
    • หนังสือ
    • งานวิจัย
    • E-Journal
    • จดหมายข่าว
  • อัลบั้มภาพ
  • เครือข่าย R2R
หน้าแรก » เวทีสร้างงานวิจัย » ธนาคารกะโหลก (Skull storage)

ธนาคารกะโหลก (Skull storage)

  • ขนาดตัวอักษร  | |

ทดลองการใช้ Queue Code ในการจัดเก็บกะโหลกศีรษะหลังจากที่ผู้ป่วยมีการผ่าตัดกะโหลกศีรษะแบบไม่ใส่คืน Craniectomy เปรียบเทียบก่อนและหลังใช้การจัดเก็บโดยใช้ QC

พัฒนาโครงร่างวิจัย

1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ)

ธนาคารกะโหลก (Skull storage)

2. ภูมิหลังและที่มาของโครงการ (Background and Rational)

ทดลองการใช้ Queue Code ในการจัดเก็บกะโหลกศีรษะหลังจากที่ผู้ป่วยมีการผ่าตัดกะโหลกศีรษะแบบไม่ใส่คืน Craniectomy เปรียบเทียบก่อนและหลังใช้การจัดเก็บโดยใช้ QC

3. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย (Objective)

3.1 วัตถุประสงค์หลัก (Primay Objective)

เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของวิธีการจัดเก็บกะโหลกโดยใช้ นวตกรรมคลังปัญญา

3.2 วัตถุประสงค์รอง (Secondary Objective)

-

4. วิธีการดำเนินโครงการ (Materials and Methods)

4.1 การออกแบบการวิจัย (Study Design)

การวิจัยเชิงทดลอง 

4.2 ประชากรที่ศึกษา (Study Population)

กะโหลกของผู้ป่วยที่ผา่ตัดกะโหลกแบบไม่ใส่คืน

4.3 แหล่งที่มาของประชากร (Source of Study Population)

กะโหลกของผู้ป่วยที่ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลเลย

4.4 การได้มาซึ่งประชากรที่ศึกษา (Method of Recruitment of Study Population)

กะโหลกของผู้ป่วยที่เก็บที่ห้องผ่าตัดทุกราย

4.5 เกณฑ์การคัดเลือกประชากรที่ศึกษา (Selection Criteria)

4.5.1 เกณฑ์การคัดเลือกผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร (Inclusion Criteria)

กะโหลกของผู้ป่วยที่มาผ่าตัดที่ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลเลย แบบที่ไม่ใส่คืนทุกราย

4.5.2 เกณฑ์ไม่รับเข้าในการศึกษา (Exclusion Criteria)

กะโหลกศีรษะที่รับการผ่าตัดแบบเปิดกะโหลกมาจาก รพ.อื่น

4.5.3 เกณฑ์การถอนผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครหรือยุติการเข้าร่วมการวิจัย (Withdrawal or Termination Criteria)

-

4.6 วิธีการแบ่งกลุ่มประชากรที่ศึกษา (Allocation of Study Population)

-

4.7 จำนวนประชากรที่ต้องการจะศึกษา (Sample Size) และการคำนวณขนาดตัวอย่าง (Sample Size Calculation)

เก็บ ร้อยละ 100

4.8 ขั้นตอนการศึกษา (Study Procedures)

1 ศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการจัดเก็บโดยใช้ Queue Code

2 นำ Queue Code มาชี้แจงวิธีการใช้งานในหน่วยงาน

3 หลังได้ Queue Code นำมาทดลองโดยใช้การสืบค้นการหากะโหลกจากตู้แช่กะโหลก เปรียบเทียบก่อนและหลังใช้

4 นำระยะเวลาที่ได้หลังการทดลองนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติร้อยละ ในการเปรียบเทียบความแตกต่างก่อนและหลัง

5 เมื่อได้ผลการศึกษานำมาเสนอผลที่ได้และพัฒนาโดยการทำ Queue Code เข้าสู่ระบบของโรงพยาบาล เพื่อสืบค้นกับติดตามหารายละเอียดได้มากขึ้นในอนาคต

4.9 การวัดผล/การวิเคราะห์ผลการวิจัย (Outcome Measurement/Data Analysis) (กระบวนการวัดผล/ วิเคราะห์ผล รวมถึงสถิติที่ใช้)

สถิติที่นำมาใช้การวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้คือ สถิติร้อยละ

4.10 หลักฐาน ข้อมูล หรือเอกสารอ้างอิงที่แสดงว่าการวิจัยนี้น่าจะมีความปลอดภัยและ/หรือมีประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร/สังคม

-

5. แผนการดำเนินการ (Outline of the Study) และผลที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา

1ช่วยลดระยะเวลาในการค้นหากะโหลกหลังทำ craniectomy จากตู้เก็บกะโหลกเพื่อใช้ในการจำหน่ายกะโหลก

2เป็นการช่วยระบุตัวผู้ป่วยให้ถูกต้องโดยการใช้ Queue Code เป็นสิ่งยืนยัน ( Double check )

3สามารถระบุเวลาการจัดเก็บกะโหลกและการจำหน่ายออกจากตู้แช่กะโหลกได้

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อการดำเนินงานเสร็จสิ้นที่เป็นรูปธรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ

1ช่วยลดระยะเวลาในการค้นหากะโหลกหลังทำ craniectomy จากตู้เก็บกะโหลกเพื่อใช้ในการจำหน่ายกะโหลก

2เป็นการช่วยระบุตัวผู้ป่วยให้ถูกต้องโดยการใช้ Queue Code เป็นสิ่งยืนยัน ( Double check )

3สามารถระบุเวลาการจัดเก็บกะโหลกและการจำหน่ายออกจากตู้แช่กะโหลกได้

7 แผนการนำผลงานดังกล่าวออกสู่การใช้ประโยชน์ (Implementation)

1.ประชุมแจ้งวิธีการใช้งาน 

2.นำไปใช้งานจริง

3.ประเมินผลหลังใช้งาน

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

8.1 ประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครเป็นรายบุคคล

สามารถควบคุมอุณหภูมิของกพโหลกได้ดี

ลดปัจจัยที่ทำให้เกิดการติดเชื้อได้

8.2 ประโยชน์ต่อวิชาชีพโดยรวม

หาง่าย ใช้สะดวก

8.3 ประโยชน์ต่อสังคม

ลดค่าใช้จ่าย

ลดอัตราการนอน รพ.

 

8.4 อื่นๆ

-

ความก้าวหน้าในการดำเนินการวิจัย/ปัญหาหรืออุปสรรคระหว่างทำวิจัย

พบว่าการศึกษาวิธีการจัดเก็บกะโหลกโดยใช้ Queue Code พบว่าช่วยลดระยะเวลาในการค้นหากะโหลก โดยใช้ระยะเวลาเฉลี่ย 6 วินาทีลดลงจากเดิมเฉลี่ย 216 วินาที

ข้อเสนอแนะ

1.หลังจากที่มีการศึกษาในครั้งนี้พบว่ายังมีปัญหาในส่วนอื่นๆ อาทิ เช่น วิธีการจัดเก็บกะโหลก บรรจุภัณฑ์ รวมทั้งปริมาณกะโหลกที่ยังไม่ได้รับการจำหน่ายหรืออยู่ในกระบวนการรอจำหน่าย ซึ่งสามารถที่จะนำไปศึกษาได้ในขั้นต่อไป

2.การค้นหากะโหลกจากตู้แต่ละครั้งจะทำให้อุณหภูมิในตู้เก็บกะโหลกสูญเสียออกไปในการสืบค้นในแต่ละครั้งควรจะมีการตัดการข้อจำกัดในจุดนี้

3.ตู้ที่ใช้ในการจัดเก็บกะโหลกมีปริมาณความจุที่น้อยทำให้บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บกะโหลกนั้นเสียหายได้ ควรมีการพัฒนาปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

อัพเดทความเคลื่อนไหว

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

อัลบั้มภาพ

  • After and Before
    20 เม.ย. 2558 | 2 Photos

วิดีโอ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้
  • อ่าน 3138 คน
  • พิมพ์หน้านี้

แสดงความคิดเห็น

Skip to Top
รัตนิศา คณะแพง's picture
นักวิจัยหลัก: รัตนิศา คณะแพง
เมื่อ 20 เม.ย. 2558

ทีมงาน

นักวิจัย

  • รัตนิศา คณะแพง's picture

ติดต่อ

โรงพยาบาลเลย 32/1 ต.กุดป่อง อ.เมือง จ.เลย

รางวัล

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

เอกสาร

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้
ส่งต่อให้เพื่อน

ติดต่อเรา

โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ

อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘o พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕o ชั้น 2
เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700

โทร. 02-419-2661  อีเมล r2r.thai@gmail.com

เครือข่าย R2R | ถาม-ตอบ | ติดต่อเรา

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ R2R
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • เวทีสร้างงานวิจัย
  • คลังความรู้
  • อัลบั้มภาพ
  • เครือข่าย R2R

ติดตามเรา

  • Facebook
  • Twitter
  • Youtube
  • RSS feed