Skip to main content
R2R

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ขอรหัสผ่านใหม่
  • |
  • สมัครสมาชิก
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ R2R
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสาร
    • กิจกรรม
  • เวทีสร้างงานวิจัย
  • คลังความรู้
    • วิดีโอ
    • หนังสือ
    • งานวิจัย
    • E-Journal
    • จดหมายข่าว
  • อัลบั้มภาพ
  • เครือข่าย R2R
หน้าแรก » เวทีสร้างงานวิจัย » ผลของการทำกายภาพบำบัดตามโปรแกรม LoeiHos ในผู้ป่วย Stroke ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการช่วยเหลือตัวเอง (The impact of physical therapy on activities of daily living efficient : LOEI HOS program)

ผลของการทำกายภาพบำบัดตามโปรแกรม LoeiHos ในผู้ป่วย Stroke ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการช่วยเหลือตัวเอง (The impact of physical therapy on activities of daily living efficient : LOEI HOS program)

  • ขนาดตัวอักษร  | |

พัฒนาโครงร่างวิจัย

1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ)

ผลของการทำกายภาพบำบัดตามโปรแกรม LoeiHos ในผู้ป่วย Stroke ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการช่วยเหลือตัวเอง (The impact of physical therapy on activities of daily living efficient : LOEI HOS program)

2. ภูมิหลังและที่มาของโครงการ (Background and Rational)

รพ.เลยมีระบบการดูแล Pt Stroke ที่เฉพาะเจาะจงในปี 2554 โดยมีการให้ยาละลายลิ่มเลื่อดทางหลอดเลือดดำและมี stroke unit เพื่อการฟื้นฟูสภาพ งานกายภาพบำบัดจึงต้องพัฒนาระบบการดูแล pt ดังกล่าว โดยใช้โปรแกรม LOEI HOS

3. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย (Objective)

3.1 วัตถุประสงค์หลัก (Primay Objective)

ศึกษาผลของการทำกายภาพบำบัดตามโปรแกรม LOEI HOS ในผู้ป่วย Stroke ต่อประสิทธิภาพในการช่วยเหลือตัวเอง

3.2 วัตถุประสงค์รอง (Secondary Objective)

-

4. วิธีการดำเนินโครงการ (Materials and Methods)

4.1 การออกแบบการวิจัย (Study Design)

Action Research 

4.2 ประชากรที่ศึกษา (Study Population)

ผู้ป่วย Stroke ทั้งเพศชายและหญิงที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเลย

4.3 แหล่งที่มาของประชากร (Source of Study Population)

ผู้ป่วย Stroke ทั้งเพศชายและหญิงที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเลย

4.4 การได้มาซึ่งประชากรที่ศึกษา (Method of Recruitment of Study Population)

ผู้ป่วย Stroke ทั้งเพศชายและหญิงที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเลย ที่มีข้อบ่งชี้ในการทำกายภาพ

4.5 เกณฑ์การคัดเลือกประชากรที่ศึกษา (Selection Criteria)

4.5.1 เกณฑ์การคัดเลือกผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร (Inclusion Criteria)

-ผู้ป่วยที่มีภาวะ stroke ทั้งเพศ ชาย หญิง

-มีสัญญาณชีพปกติ

-มีข้อบ่งชี้ในการทำกายภาพ

4.5.2 เกณฑ์ไม่รับเข้าในการศึกษา (Exclusion Criteria)

-ผู้ป่วยเสียชีวิต

-มีข้อห้ามในการทำกายภาพ

4.5.3 เกณฑ์การถอนผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครหรือยุติการเข้าร่วมการวิจัย (Withdrawal or Termination Criteria)

-อาการแย่ลงจากการเข้าร่วมโครงการ

-ผู้ป่วยไม่สมัครใจ

4.6 วิธีการแบ่งกลุ่มประชากรที่ศึกษา (Allocation of Study Population)

ทำเป็น one group ตามเกณฑ์การคัดเข้า

4.7 จำนวนประชากรที่ต้องการจะศึกษา (Sample Size) และการคำนวณขนาดตัวอย่าง (Sample Size Calculation)

ทุกรายตามเกณฑ์คัดเข้า

4.8 ขั้นตอนการศึกษา (Study Procedures)

-วิเคราะห์สถานการณ์

-ดำเนินการ

-ประเมินผลหลังในงานจริง

4.9 การวัดผล/การวิเคราะห์ผลการวิจัย (Outcome Measurement/Data Analysis) (กระบวนการวัดผล/ วิเคราะห์ผล รวมถึงสถิติที่ใช้)

-วัดจาก ADL และ BI ที่เพิ่มขึ้น สถิติร้อยละ

-วิเคราะห์เนื่อหาในผู้ป่วยที่ขาดนัด

4.10 หลักฐาน ข้อมูล หรือเอกสารอ้างอิงที่แสดงว่าการวิจัยนี้น่าจะมีความปลอดภัยและ/หรือมีประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัคร/สังคม

-Van Peppen และคณะ พบว่า การทำกายภาพบำบัดช่วยเพิ่ม functional outcome ในผู้ป่วย stroke

-A Sunderland และคณะ พบว่าการกายภาพบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจสามารถเพิ่ม recovery of strength , range และ speed of movement 

5. แผนการดำเนินการ (Outline of the Study) และผลที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา

-

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อการดำเนินงานเสร็จสิ้นที่เป็นรูปธรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ

-คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้นจากการประเมินค่า ADL และ BI

-ได้ข้อมูลนำเข้าเพื่อพัฒนาระบบบริการกายภาพบำบัดในผู้ป่วย stroke ในโรงพยาบาลเลย

7 แผนการนำผลงานดังกล่าวออกสู่การใช้ประโยชน์ (Implementation)

นำโปรแกรมกายภาพบำบัดในผู้ป่วย stroke "LOEI HOS" ไปสู่การพัฒนาเครือข่ายกายภาพใน จ.เลย

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

8.1 ประโยชน์ต่อผู้ร่วมวิจัย/อาสาสมัครเป็นรายบุคคล

ผู้ป่วยได้รับการทำกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่องจนสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการช่วยเหลือตนเอง

8.2 ประโยชน์ต่อวิชาชีพโดยรวม

เป้นข้อมูลในการพัฒนาในการให้บริการกายภาพบำบัดในผู้ป่วยกลุ่ม Stroke

8.3 ประโยชน์ต่อสังคม

เป็นข้อมูลในการพัฒนาในการให้บริการกายภาพบำบัดในผู้ป่วย stroke ใน จ.เลยและประเทศไทย

8.4 อื่นๆ

-

ความก้าวหน้าในการดำเนินการวิจัย/ปัญหาหรืออุปสรรคระหว่างทำวิจัย

มีการ drop out ของผู้ป่วยใน phase ที่ 2 และ phase ที่ 3 เป็นจำนวนมาก

อัพเดทความเคลื่อนไหว

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

อัลบั้มภาพ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

วิดีโอ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้
  • อ่าน 3780 คน
  • พิมพ์หน้านี้

แสดงความคิดเห็น

Skip to Top
อังศุมาลิน ภูมิชัย's picture
นักวิจัยหลัก: อังศุมาลิน ภูมิชัย
เมื่อ 20 เม.ย. 2558

ทีมงาน

นักวิจัย

  • อังศุมาลิน ภูมิชัย's picture

ติดต่อ

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

รางวัล

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้

เอกสาร

ยังไม่มีข้อมูลในส่วนนี้
ส่งต่อให้เพื่อน

ติดต่อเรา

โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ

อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘o พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕o ชั้น 2
เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700

โทร. 02-419-2661  อีเมล r2r.thai@gmail.com

เครือข่าย R2R | ถาม-ตอบ | ติดต่อเรา

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ R2R
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • เวทีสร้างงานวิจัย
  • คลังความรู้
  • อัลบั้มภาพ
  • เครือข่าย R2R

ติดตามเรา

  • Facebook
  • Twitter
  • Youtube
  • RSS feed